Page 111 - คู่มือกฎหมายเเพ่งเเละพาณิชย์ - กรมบังคับคดี
P. 111

จำานอง










             จำานอง







            ลักษณะของการจำานอง (การจำานองคืออะไร?)


                  การประกันชำาระหนี้ด้วย “ทรัพย์” โดย “ผู้จำานอง” ตกลงนำาทรัพย์

            ของตนที่เรียกว่า “ทรัพย์จำานอง” ให้ไว้แก่เจ้าหนี้ตามสัญญาประธาน
            ที่เรียกว่า “ผู้รับจำานอง” เพื่อประกันการชำาระหนี้ประธานโดยไม่ต้อง

            ส่งมอบทรัพย์จำานองให้แก่ผู้รับจำานอง

                  ตัวอย่างเช่น ธนาคารให้ลูกหนี้กู้ยืมเงินจำานวน 100,000 บาท

            สัญญากู้ยืมเงินเป็น “สัญญาประธาน” เพื่อให้มั่นใจว่าลูกหนี้จะคืนเงินกู้ยืม

            ลูกหนี้จึงนำาที่ดินของตนจำานองไว้กับธนาคารเพื่อเป็นประกันการชำาระหนี้

            เงินกู้ ธนาคารจึงเป็นผู้รับจำานองและลูกหนี้เป็นผู้จำานอง โดยสัญญา

            จำานองนี้ถือเป็น “สัญญาอุปกรณ์” ของสัญญากู้ยืมเงิน
                  ทั้งนี้ ผู้จำานองอาจเป็น “ลูกหนี้ประธาน” หรือเป็น “บุคคลภายนอก” ก็ได้




            คู่สัญญา (ใครเป็นคู่สัญญาในสัญญาจำานอง?)

                  เนื่องจากสัญญาจำานองเป็นการประกันชำาระหนี้ (หนี้ตามสัญญา

            ประธาน)  เช่น  หนี้ตามสัญญากู้ยืมเงินกับธนาคาร  สัญญาจำานอง


                                          109
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116