Page 27 - คู่มือติดต่อราชการกรมบังคับคดี
P. 27
กรมบังคับคดี กรมบังคับคดี
กระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี
การไกล่เกลี่ย
ข้อพิพาทชั้นบังคับคดี
การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี
หมายถึง วิธีการระงับหรือยุติข้อพิพาท โดยมีบุคคลท่สาม เรียกว่า
ี
ู
ี
ี
ื
ำ
่
“ผ้ไกล่เกล่ย” ทาหน้าทในการช่วยเหลือเสนอแนะแนวทางและเป็นส่อกลาง
ื
ำ
ู
เพ่อให้ค่กรณีหาทางออกของข้อพิพาทร่วมกัน โดยท่ผ้ไกล่เกล่ยไม่มีอานาจ
ู
ี
ี
ำ
ู
ในการกาหนดข้อตกลงให้แก่ค่กรณี การจะตกลงหรือไม่เป็นการตัดสินใจ
ของคู่กรณีเอง
ประโยชน์ของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี
1. รวดเร็ว ไม่ยุ่งยาก
2. ไม่เสียค่าใช้จ่าย
3. ผู้ไกล่เกลี่ยที่เป็นคนกลาง มีความรู้ความสามารถ
4. เป็นความยินยอมของคู่ความในการตกลงกัน เหมาะสมกับทุกฝ่าย
5. ทำาให้ไม่ต้องมีการบังคับคดี
ี
ู
6. มีความยืดหย่นเน่องจากค่กรณีสามารถเลือกใช้การไกล่เกล่ย
ื
ุ
ข้อพิพาทในบางประเด็นหรือทั้งหมดก็ได้
์
ั
้
ั
์
7. รกษาความสัมพนธระหวางกนได หรือกอใหเกิดความสัมพนธในระยะยาว
ั
่
้
่
ั
25