Page 18 - คู่มือไกล่เกลี่ยข้อพิพาท - กรมบังคับคดี
P. 18
การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
16 กรมบังคับคดี
4. ผู้ ไกล่เกลี่ยคือใคร
่
ู
ู
ี
ตอบ “ผ้ไกลเกล่ย” คือ คนกลางท่ค่กรณีตกลงให้ช่วยเหลือในการเสนอแนะ
ี
หาทางออกให้ค่กรณีสามารถตกลงกันได้ทุกฝ่าย โดยอาจเป็นบุคคลภายนอก
ู
หรือเจ้าพนักงานบังคับคดีก็ได้
5. ประเภทของการไกล่เกลี่ยชั้นบังคับคดีมีอะไรบ้าง
ี
ตอบ 1) การไกล่เกล่ยก่อนการบังคับคดี คือ การไกล่เกล่ยก่อนท่จะมีการบังคับคด ี
ี
ี
ยึดทรัพย์ อายัดทรัพย์ของลูกหนี้ เพื่อชำาระหนี้ตามคำาพิพากษา คู่กรณีสามารถ
ขอให้มีการไกล่เกลี่ยได้โดยไม่ให้ดำาเนินการบังคับคดี
ี
2) การไกล่เกล่ยภายหลังการบังคับคดีแล้ว คือ การไกล่เกล่ยภายหลัง จากท่ม ี
ี
ี
การบังคับคดียึดทรัพย์ อายัดทรัพย์ หรือขายทอดตลาดทรัพย์ของลูกหน้แล้ว
ี
ึ
ซ่งหากค่ความสามารถตกลงกันได้จะมีผลให้มีการถอนการยึดทรัพย์ ถอนการ
ู
ำ
อายัดทรัพย์ หรือถอนการบังคับคดีต่อไปแล้วทาบันทึกข้อตกลงระหว่างกัน
ี
ื
เพ่อใช้บังคับตามท่ตกลงหรือหากตกลงกันได้เพียงบางส่วน ประเด็นท่ตกลงกัน
ี
ไม่ได้ ก็สามารถดำาเนินการบังคับคดีต่อไปได้
6. กระบวนการไกล่เกลี่ยชั้นบังคับคดีเป็นอย่างไร
ตอบ 1) การเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยก่อนการบังคับคดี ภายหลังจากที่ศาล
มีคาพิพากษา ค่กรณีสามารถตกลงให้คนกลางช่วยเหลือในการระงับหรือยุต ิ
ำ
ู
ี
ื
ำ
การบังคับคดีได้ โดยย่นคาร้องแสดงความประสงค์ต่อศูนย์ไกล่เกล่ยข้อพิพาท
กรมบังคับคดี หรือที่สำานักงานบังคับคดีทั่วประเทศ